ในระยะเวลา 24 ชม. ของคุณ
HOME
อยู่บ้าน
ชั่วโมง
WORK
เรียน/ทำงาน
ชั่วโมง
VISIT
กิน/เที่ยว
ชั่วโมง
สัดส่วน คน (%)
HOME
0%
WORK
VISIT
จำนวน ชั่วโมง
หมายเหตุ: สัดส่วนจำนวนอุปกรณ์ที่อยู่ในพื้นที่ประเภทต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ ขอนแก่น และสงขลารวมกัน
จังหวัด
อยู่ที่บ้าน
ชั่วโมง
อยู่ที่ทำงาน
ชั่วโมง
อยู่ในที่อื่น ๆ
ชั่วโมง
สัดส่วน 24 ชม. ของคุณ
ข้ามไปดูเนื้อหา
ในระยะเวลา 24 ชม. ของคุณ
HOME
อยู่บ้าน
ชั่วโมง
WORK
เรียน/ทำงาน
ชั่วโมง
VISIT
กิน/เที่ยว
ชั่วโมง
สัดส่วน คน (%)
HOME
0%
WORK
VISIT
จำนวน ชั่วโมง
หมายเหตุ: สัดส่วนจำนวนอุปกรณ์ที่อยู่ในพื้นที่ประเภทต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ ขอนแก่น และสงขลารวมกัน
แชร์คำตอบเพื่อชวนเพื่อนของคุณ
มาถอดรหัสชีวิตด้วยกัน
บันทึกรูป
วิถีชีวิต 24 ชั่วโมงของคนเรา
แบ่งออกอย่างคร่าว ๆ ได้เป็น 3 ช่วงเวลา
ชั่วโมง
อยู่บ้าน
HOME
ชั่วโมง
เรียน/ทำงาน
WORK
ชั่วโมง
กิน/เที่ยว
VISIT
กลายเป็นรหัส
ที่เราใช้นิยามพื้นที่เมือง
แต่คนในเมืองใช้เวลาชีวิตแบบนี้กันจริงไหม
ข้อมูล Mobility จะมาช่วยตอบคำถามนี้ให้เราได้
นอกจากรหัสชีวิตที่คุณกรอกมาแล้ว
เราก็อยากพาไปสำรวจวิถีชีวิตจริง
ผ่านข้อมูล Mobility Data จากคน 4 เมืองใหญ่
ว่าชีวิตจริงของผู้คนในเมืองเหล่านั้น
เป็นอย่างไร เหมือนหรือต่าง กับชีวิตของคุณแค่ไหน
ถึงจะเป็นเมืองใหญ่ แต่เมือง 4 เมือง ที่เราเลือกมา มีเอกลักษณ์ของความเป็นเมืองแตกต่างกันไป
เชียงใหม่
แหล่งท่องเที่ยว
ต๊ะต่อนยอน
ขอนแก่น
ศูนย์กลางอีสาน
เชื่อมคมนาคม
กรุงเทพฯ
เมืองศูนย์กลาง
ที่ไม่หลับใหล
สงขลา
เมืองฝาแฝด
ที่โตไปด้วยกัน
คนเมืองไหนที่ใช้เวลา ทำงานยาวนานกว่า 10 ชั่วโมงในหนึ่งวัน?
เมืองไหนที่ผู้สูงอายุไม่ค่อยไปไหนนอกจากละแวกบ้านตัวเอง?
เมืองไหนที่ชีวิตยามค่ำคืนคึกคักและคนมักไม่ค่อยกลับบ้าน?
ไม่ใช่แค่เพียงเอกลักษณ์ภายนอกที่แตกต่าง แต่สิ่งที่ทำให้เมืองแต่ละเมืองไม่เหมือนใคร คือไลฟ์สไตล์ของเมืองที่แตกต่างกันที่สะท้อนออกมาเป็นรหัสที่แตกต่างกัน
เลือกข้ามไปเนื้อหาที่คุณสนใจ
ถอดรหัส
พื้นที่
ถอดรหัส
ช่วงวัย
ถอดรหัส
เวลาชีวิต
หรือเลื่อนเพื่อเข้าสู่เนื้อหา “ถอดรหัสพื้นที่”
มองผิวเผิน เมืองไหน ๆ ก็คงเหมือนกัน ยิ่งถ้าดูจากแผนที่ สิ่งที่เราเห็น ก็มีแต่สถานที่ ภูเขา สะพาน และถนน
แต่ทุก ๆ ที่ มีคนอยู่ตรงนั้น
และนั่นแหละที่สร้างความแตกต่าง
เมื่อเรานำข้อมูลการใช้พื้นที่
ตามหลัก 8:8:8 นี้
HOME
WORK
VISIT
มาระบุประเภทก็จะพบว่า
ขนาดพื้นที่ของเมืองใน 3 มิตินี้
มีการใช้งานแตกต่างกันออกไป
HOME
ขอนแก่น
พื้นที่อยู่อาศัย (สีเหลือง) กระจุกตัวภายใน ถนนวงแหวนและกระจายตัวตามถนนหลัก อย่างถนนมิตรภาพและถนนศรีจันทร์ แสดงให้เห็นว่าที่ใจกลางเมืองขอนแก่น นั้นคือแหล่งพักพิงของเหล่าคนเมือง
พื้นที่อยู่อาศัย (สีเหลือง) กระจุกตัวภายใน ถนนวงแหวนและกระจายตัวตามถนนหลัก อย่างถนนมิตรภาพและถนนศรีจันทร์ แสดงให้เห็นว่าที่ใจกลางเมืองขอนแก่น นั้นคือแหล่งพักพิงของเหล่าคนเมือง
WORK
กรุงเทพฯ
เพราะพื้นที่ทำงาน (สีฟ้า) ที่กระจายไปทั่วเมือง และกินบริเวณกว้างใหญ่อย่างเห็นได้ชัด สะท้อนการใช้ชีวิต ในแง่มุมทางเศรษฐกิจที่แสนคึกคัก ขับเคลื่อนลมหายใจของมหานคร
พื้นที่ทำงานของคนกรุงเทพฯ กระจุกตัวอยู่ย่าน พระราม 4 สุขุมวิท พระราม 9
เมื่อเทียบกับเนื้อเมืองทั้งหมด อดคิดภาพตาม ไม่ได้ว่ามีคนมากมายต้องหลั่งไหลเข้ามา ในจุดเล็ก ๆ นั้นในช่วงเวลางาน
WORK & VISIT
เชียงใหม่
พื้นที่แหล่งงานและที่อยู่อาศัย กระจุกตัวในพื้นที่คูเมืองเก่า
(WORK & HOME) กระจายไปโดยรอบ เช่น นิมมานเหมินทร์ ย่านช้างม่อย เป็นต้น
WORK
สงขลา
กระจุกตัวอยู่ในเมืองสงขลาและหาดใหญ่
สงขลา (หาดใหญ่)
จะเห็นว่าพื้นที่ทำงานคือย่านเมืองที่มีแหล่งการค้าคึกคักและอยู่ใกล้กับแหล่งคมนาคม
เชียงใหม่
ขอนแก่น
VISIT
เพราะมีพื้นที่ประเภทอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ที่อยู่ หรือที่ทำงาน หรือที่เราเรียกว่า พื้นที่เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ ในสัดส่วนที่มากกว่าเมืองอื่น ๆ (65.14%)
ลองซูมเอาต์ออกมา เราจะเห็นหน้าตาที่แท้จริงของ 4 เมืองที่ต่างกันแบบสุดขั้ว สะท้อนไลฟ์สไตล์ของผู้คนที่อยู่ในพื้นที่เหล่านั้น
เมื่อเห็นลักษณะการใช้พื้นที่สามรูปแบบ ของคนในแต่ละเมืองแล้ว เราอาจได้ลองจินตนาการถึงการใช้พื้นที่ให้คุ้มค่า หรือการขยายการพัฒนาสาธารณูปโภค ไปยังจุดอื่น ๆ
แล้วผู้คนในแต่ละเมือง เป็นคน วัยไหนกันบ้าง ข้อมูลประชากร ที่ได้จากข้อมูลกิจกรรมดิจิทัล ทำให้เราเห็นว่าสัดส่วนคน ในวัยต่าง ๆ ของทั้งสี่เมืองนี้ ปัจจุบันไม่ได้แตกต่างกันมากนัก
สัดส่วนช่วงอายุในแต่ละจังหวัด
สัดส่วน 100% จากอุปกรณ์ทั้งหมดที่สำรวจทั้งจังหวัด
เพราะเมืองหลักภูมิภาคที่เราศึกษา เป็นศูนย์กลางความเจริญและเป็นที่ตั้ง ของมหาวิทยาลัยประจำภูมิภาค
จึงทำให้กลุ่มวัยทำงานและ
วัยเรียนมีบทบาทอย่างมาก ในเมืองเหล่านี้
ช่วงวัยอาจบอกเราได้แค่มิติอายุ
แต่สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้น คือ
คนในวัยเหล่านั้นไปใช้เวลา พักผ่อนในย่านไหนกัน
เชียงใหม่
ขอนแก่น
วัยเรียน
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
เพราะที่นี่คือที่ตั้งของมหาวิทยาลัย ของภูมิภาค อย่าง ม.แม่โจ้ และ ม.ขอนแก่น
วัยเรียน
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
กรุงเทพฯ
เพราะมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ในกรุงเทพฯ นั้นมีหลากหลายกระจายไปถึงบริเวณชานเมือง
วัยเรียน
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
สงขลา
เพราะคนวัยเรียนใช้เวลาส่วนใหญ่ท่องเที่ยว ในตำบลซึ่งเป็นที่ตั้งของ ม.หาดใหญ่ ม.ทักษิณ และ ม.สงขลานครินทร์
วัยทำงาน
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
สงขลา
มาใช้เวลาพักผ่อนกันที่นี่ เนื่องจากเป็นพื้นที่ศูนย์กลางของเมือง
สงขลา (หาดใหญ่)
ทั้งด้านพาณิชยกรรม การบริการ โรงแรม ห้างสรรพสินค้า ตลาด ด้านการศึกษา มหาวิทยาลัยประจำภูมิภาค รวมถึงกิจกรรม ที่รองรับบริการเหล่านั้น
วัยเกษียณ
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
ขอนแก่นและสงขลา
เมื่อเทียบกับพื้นที่บริเวณอื่นในเมือง อย่างที่ ต.ในเมือง จ.ขอนแก่น กับ ต.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ขอนแก่น
ซึ่งมีวัดสำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ วัดกลาง วัดหนองแวง และศูนย์การค้าเก่าแก่ อย่างแฟรี่พลาซ่า และกระจุกตัวบริเวณ แนวถนนศรีจันทร์ ซึ่งมีโรงพยาบาล กิจกรรมการค้า ร้านอาหาร และตลาด
วัยเกษียณ
ความหนาแน่น :
น้อย
มาก
กรุงเทพฯ
แสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุทำกิจกรรมอยู่เพียง แค่พื้นที่รอบ ๆ ที่อยู่อาศัยของพวกเขาเท่านั้น
ทำให้ได้รู้ว่าคน 3 วัยมีแหล่งพักใจอยู่ที่ไหน แต่ละวัยมีย่านที่เป็นเหมือนคอมฟอร์ตโซนของหัวใจให้ไปหา คงจะดีถ้าเมืองได้เปิดพื้นที่ได้ใกล้ชิดกันกว่านี้
เมืองที่ดีต้องทำให้คนเมือง มีทางเลือกที่ยืดหยุ่นและหลากหลาย
ชีวิตคนในแต่ละเมือง
ยืดหยุ่นแค่ไหน?
ในจังหวะชีวิตแบบ 8:8:8 นี้
กรุงเทพฯ
เมืองแห่งโอกาส เร่งรีบ หลากหลาย ยืดหยุ่นน้อย
HOME
WORK
VISIT
ข้อมูลที่มากที่สุด (Max)
ข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean)
หมายเหตุ ข้อมูลภาพรวมทั้งจังหวัดกรุงเทพฯ
สัดส่วนเวลาชีวิตใน 24 ชม.
เวลายืดหยุ่นเหลือ
4.5
ชั่วโมง
ใช้ข้อมูลเปอร์เซนไทล์ที่ 75 ของชุดข้อมูลเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เนื่องจากสะท้อนภาพแทนข้อมูลชุดนี้ได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย
เชียงใหม่
เมืองใหญ่ภาคเหนือ เนิบช้า แต่บ้าบิ่น ทำทุกเรื่องอย่างลงตัว
HOME
WORK
VISIT
ข้อมูลที่มากที่สุด (Max)
ข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean)
หมายเหตุ ข้อมูลภาพรวมทั้งจังหวัดเชียงใหม่
สัดส่วนเวลาชีวิตใน 24 ชม.
เวลายืดหยุ่นเหลือ
6.3
ชั่วโมง
ใช้ข้อมูลเปอร์เซนไทล์ที่ 75 ของชุดข้อมูลเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เนื่องจากสะท้อนภาพแทนข้อมูลชุดนี้ได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย
ขอนแก่น
เมืองใหญ่ภาคอีสาน ชีวิตที่บาลานซ์ได้
HOME
WORK
VISIT
ข้อมูลที่มากที่สุด (Max)
ข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean)
หมายเหตุ ข้อมูลภาพรวมทั้งจังหวัดขอนแก่น
สัดส่วนเวลาชีวิตใน 24 ชม.
เวลายืดหยุ่นเหลือ
6.4
ชั่วโมง
ใช้ข้อมูลเปอร์เซนไทล์ที่ 75 ของชุดข้อมูลเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เนื่องจากสะท้อนภาพแทนข้อมูลชุดนี้ได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย
สงขลา (หาดใหญ่)
เมืองใหญ่ภาคใต้ ชีวิตเมืองใหญ่ เร่งรีบ วุ่นวาย เต็มที่ทุกเรื่อง
HOME
WORK
VISIT
ข้อมูลที่มากที่สุด (Max)
ข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean)
หมายเหตุ ข้อมูลภาพรวมทั้งจังหวัดสงขลา (หาดใหญ่)
สัดส่วนเวลาชีวิตใน 24 ชม.
เวลายืดหยุ่นเหลือ
4.5
ชั่วโมง
ใช้ข้อมูลเปอร์เซนไทล์ที่ 75 ของชุดข้อมูลเวลาที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เนื่องจากสะท้อนภาพแทนข้อมูลชุดนี้ได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย
จะเห็นว่า
มีความเร่งรีบและไม่ยืดหยุ่น โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และสงขลา มีเวลายืดหยุ่นเพียง 4.5 ชั่วโมงต่อวันเท่านั้น
แนวคิดเมือง 15 นาที และการสร้างเส้นเลือดฝอย เพื่อให้ การกิน เที่ยว เล่น จบในละเเวกบ้าน และละเเวกที่ทำงานจึงเป็นเรื่องสำคัญ
เพื่อให้คนในเมือง ที่มีช่วงเวลาชีวิตไม่ยืดหยุ่น ได้มีโอกาสใช้ชีวิตได้ยืนหยุ่นในละแวกบ้านและที่ทำงาน ได้มากขึ้น
ภาพรวม
จังหวะชีวิตทั้ง 4 เมืองมีความคล้าย
แต่แตกต่างในรายละเอียด
HOME
WORK
VISIT
ข้อมูลที่มากที่สุด (Max)
ข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean)
หมายเหตุ ข้อมูลภาพรวมทั้ง 4 จังหวัด
ข้อมูลทั้งหมดที่เราเห็น คือภาพสะท้อนชีวิตเมือง ในระดับความละเอียดสูง ที่เกิดขึ้นได้เพราะข้อมูลการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัล
สิ่งที่ข้อมูลช่วยไขความเข้าใจ อาจทำให้เรา ช่วยกันออกแบบชีวิตเมืองแบบใหม่ ๆ ได้
ผู้สูงอายุควรได้ไปที่อื่น ๆ นอกจากแถวบ้านบ้างไหม ?
คนกรุงเทพฯ ได้ใช้เวลาอยู่บ้านมากกว่านี้จะดีหรือเปล่า ?
ขนส่งสาธารณะในเชียงใหม่ ขอนแก่น และสงขลา น่าจะพัฒนาขึ้นอย่างไร ?
เพื่อให้คนวัยเรียนได้ออกไปเรียนรู้นอกอาณาเขตมหาวิทยาลัยบ้าง
วันหยุดของคนเมืองจะหลากหลายและมีคุณภาพขึ้นไหม หากมีพื้นที่สาธารณะหลากหลายขึ้น ?